วิธีเอาตัวรอดจากภัยธรรมชาติต่างๆ

1.แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์การสั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งแผ่นดินไหวจากธรรมชาติเป็นธรณีพิบัติภัยชนิดหนึ่ง ส่วนมากเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครียด ที่สะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่



 ข้อปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหว

    ก่อนเกิดแผ่นดินไหว

  1.  เตรียมเครื่องอุปโภคบริโภคที่จำเป็น เช่น ถ่านไฟฉาย ไฟฉาย อุปกรณ์ดับเพลิง น้ำดื่ม น้ำใช้ อาหารแห้ง ไว้ใช้ในกรณีไฟฟ้าดับหรือกรณีฉุกเฉินอื่น ๆ 

  2. จัดให้มีการศึกษาถึงการปฐมพยาบาล เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรืออันตรายให้พ้นขีดอันตรายก่อนที่จะถึงมือแพทย์ 

  3.จำตำแหน่งของวาล์ว เปิด-ปิดน้ำ ตำแหน่งของสะพานไฟฟ้าเพื่อตัดตอนการส่งน้ำ และไฟฟ้า 

  4.ยึดเครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้สอย ภายในบ้าน ที่ทำงานและในสถานที่ศึกษาให้ความมั่นคงแน่นหนา ไม่โยกแยกโคลงเคลงไปทำความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน

ขณะเกิดแผ่นดินไหว

   1. ปฏิบัติตามคำแนะนำ ข้อควรปฏิบัติของทางราชการอย่างเคร่งครัด ไม่ตื่นตระหนกจนเกินไป 

   2.ตรวจเช็คการบาดเจ็บ และการทำการปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ แล้วรีบนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วนเพื่อให้แพทย์ได้ทำการรักษาต่อไป 

   3.ตรวจเช็คระบบน้ำ ไฟฟ้า หากมีการรั่วซึมหรือชำรุดเสียหายให้ปิดวาล์ว เพื่อป้องกันน้ำท่วมเอ่อ ยกสะพานไฟฟ้าเพื่อป้องกันไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าดูด หรือไฟฟ้าช็อต 

   4.ออกจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นใต้น้ำซัดฝั่งได้แม้ว่าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินจะสิ้นสุดลงแล้วก็ตาม 

______________________________________________________________________

คลื่นสึนามิ คือ คลื่นหรือกลุ่มคลื่นที่มีจุดกำเนิดอยู่ในเขตทะเลลึก ซึ่งมักปรากฏหลังแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แผ่นดินไหวใต้ทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม แผ่นดินทรุด หรืออุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงในทะเล คลื่นสึนามิสามารถเข้าทำลายพื้นที่ชายฝั่ง ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้ คลื่นสึนามิแตกต่างจากคลื่นน้ำธรรมดามาก ตัวคลื่นนั้นสามารถเดินทางได้เป็นระยะทางไกล โดยไม่สูญเสียพลังงานและสามารถเข้าทำลายชายฝั่งที่อยู่ห่างไกลจากจุดกำเนิด หลายพันกิโลเมตรได้ 





 ข้อปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิ

ควรรีบอพยพขึ้นไปในที่สูงโดยเร็วที่สุดและรอประกาศจากหน่วยงานเมื่อสถานการณ์ปลอดภัยหากท่านอยู่ในทะเล ข้อควรปฏิบัติ คือ

1. เนื่องจากเราไม่สามารถรู้สึกถึงคลื่นสึนามิได้ในขณะที่อยู่ในมหาสมุทรเปิด ดังนั้นหากอยู่ในทะเลและมีประกาศเตือนภัยในพื้นที่คลื่นสึนามิสามารถทำให้ ระดับน้ำทะเลเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและทำให้เกิดกระแสน้ำแปรปรวนยุ่งเหยิง และอันตรายในบริเวณชายฝั่งจึงไม่ควรแล่นเรือกลับเข้าฝั่ง

2. หากมีเวลาพอสามารถเคลื่อนย้ายเรือออกไปบริเวณน้ำลึก โดยพิจารณาหลักเกณฑ์การดูแลควบคุมท่าเรือจากหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่รับ ผิดชอบต่าง ๆ ด้วย

3. เมื่อเหตุการณ์สงบแล้ว แต่อาจยังเกิดผลข้างเคียงต่าง ๆ การนำเรือกลับเข้าสู่ท่าต้องติดต่อกับหน่วยท่าเรือเพื่อตรวจสอบความปลอดภัย เสียก่อน

______________________________________________________________________

โคลนถล่ม เป็นภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นตามเชิงเขา โดยอาจจะเป็นการถล่มของโคลน น้ำ สิ่งปฏิกูล เศษขยะ ดินเปียก หลังจากฝนตกหนักและเกิดน้ำท่วมฉับพลัน หรือการเกิดแผ่นดินไหวสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโคลนถล่มก็คือ การตัดไม้ทำลายป่า ทำให้รากไม้ที่ยึดดิน ทำให้ดินถล่มได้ง่ายหลังจากฝนตกหนัก น้ำจะซึมลงไปในดินอย่างรวดเร็ว

ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ

- ฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน)
- น้ำในลำห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และเปลี่ยนเป็นสีของดินภูเขา
- มีเสียงดังอื้ออึง ผิดปกติมาจากภูเขาและลำห้วย

____________________________________________________________________

น้ำป่า หรือ น้ำท่วมฉับพลัน (flash flood) คือน้ำท่วมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมากในบริเวณที่ลุ่มต่ำ ในแม่น้ำ ลำธารหรือร่องน้ำที่เกิดจากฝนที่ตกหนักมากติดต่อกันหรือจากพายุฝนที่เกิดซ้ำ ที่หลายครั้ง น้ำป่าอาจเกิดจากที่สิ่งที่ปลูกสร้างโดยมนุษย์ เช่น เขื่อนหรือฝายพังทลายสาเหตุของน้ำป่าเกิดจากการอิ่มตัวของผืนดินจากฝนที่ตก มากเกินขีดความสามารถในการดูดซับน้ำทำให้ปราณของน้ำฝนที่ตกลงมาทั้งหมดไหลไป ตามผิวพื้นดินจากที่เคยถูกซึมซับไว้ได้ น้ำจะรวมตัวไหลสู่ที่ต่ำอย่างรวดเร็วในระหว่างทางก็จะมีน้ำป่าส่วนอื่นเพิ่ม ปริมาณสมทบทลักลงไปตามร่องน้ำอย่างรวดเร็ว ยิ่งชันและมีพื้นที่รับน้ำมากก็ยิ่งมีความเร็วและพลังที่รุนแรงมากขึ้น

อุทกภัย เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานานบางครั้งทำให้เกิดแผ่นดินถล่มอาจมี สาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุมมีกำลังแรงร่องความกดอากาศต่ำมีกำลังแรง อากาศแปรปรวน น้ำทะเลหนุนหนุน แผ่นดินไหว เขื่อนพัง ทำให้เกิดอุทกภัยได้เสมอ

อุทกภัยแยกออกเป็น

1. น้ำป่าหลากเกิดจากฝนตกหนักบนภูเขา ต้นน้ำลำธารและไหลบ่าลงที่ราบอย่างรวดเร็วเพราะไม่มีต้นไม้ ช่วยดูดซับชะลอกระแสน้ำ ความเร็วของน้ำของท่อนซุง และต้นไม้ซึ่งพัดมาตามกระแสน้ำจะทำลายต้นไม้ อาคาร ถนน สะพาน และชีวิตมนุษย์และสัตว์ได้

2. น้ำท่วมขัง น้ำเอ่อนอง เกิดจากน้ำล้นตลิ่ง มีระดับสูงจากปกติท่วมแช่ขังทำให้การคมนาคมหยุดชะงั+เกWดโ}คNะบดไӸ้nำล૲ย พืชผลเกษตรกร

3. คล่นัดั๹ง เٸิจา;พาุลมแรงซัดฝั่ง ทำให้น้ำท,วมyริ9ว&ชา(ฝังฅะเ บางครั้งมีคลื่นสูงถึง 10 มตCซัոเ฿้าໝั่ทลาทรัพย์สินและชีวิตได้ 
&ncsp;
 1| ความรุนแรงและอันตรายจาก՞าย|ไฐ้ฝ่น/strong

กิEเลิއไห้ละผู้คนอาจเสียชีวิตจากไฟ้gดูոไ~้ ผ้฿นท่มFอาคารพักอาศัยอยู่ริมทะเeอยจถ࿹กนkำัด5าลǸทเลจมน้ำตายได้ ดังเช่น ปรา

30 ก.ค. 55 เวลา 20:17 23,290 3 40
แชร์สกู๊ป
กรุณา Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ส่ง Scoop ให้เพื่อน
แจ้งลบไม่เหมาะสม
ความคิดเห็น

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Loading...